images
ชื่อหลักสูตร
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

รายละเอียดหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
"............."

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีสมรรถนะ ดังต่อไปนี้

1) วิเคราะห์ และประเมินปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยศาสตร์ทางสังคมวิทยา โดยการบูรณาการข้ามศาสตร์ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับสากลในยุคเปลี่ยนผ่านสู่สังคมดิจิทัล
2) ออกแบบการวิจัยและจัดกระทำกับข้อมูลโดยใช้แนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาเป็นฐานด้วยระเบียบวิธีวิจัยที่หลากหลาย เพื่อสร้างสิ่งใหม่และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
3) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างและสื่อสารความรู้จากผลการวิจัยทางสังคมวิทยาไปสู่สาธารณะอย่างเหมาะสมกับบริบท
4) แสดงออกถึงคุณธรรมและจริยธรรม ปฏิบัติตามจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มีการอ้างอิงแหล่งที่มา ไม่คัดลอกผลงาน และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
5) แสดงออกถึงภาวะผู้นำ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ทำงานเป็นทีม เคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต

Objectives of the program are that graduates who:

The Master of Arts Program in Sociology (Revised in 2024) aims to produce graduates with these qualifications:

1) Can analyze and evaluate social phenomena by using knowledge of sociology integrated with interdisciplinary insights, both locally and internationally, in the context of transitioning to a digital society
2. Design research and manage data by using sociology theories and research methodologies to create innovation and recommendations in policy
3. Can apply digital technology to create and disseminate knowledge derived from research in sociology appropriately
4. Demonstrate morality and ethics and adhere to human research ethics: cite sources accurately, avoid plagiarism, and take responsibility for society
5. Demonstrate leadership and critical thinking skills, excel in teamwork, respect others' opinions, and commit to lifelong learning


สายงานที่เกี่ยวข้อง

โครงสร้างหลักสูตร

# วิชาเอก สาขาวิชา รายละเอียด

รายวิชาที่เปิดสอน

ลำดับที่ รหัสรายวิชา ชื่อวิชาไทย ชื่อวิชาอังกฤษ ปีที่ปรับปรุง

แผนการศึกษา

ปีที่ รายละเอียด ไฟล์

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLOs)

หัวข้อ รายละเอียด ไฟล์
PLO 1 วิเคราะห์ และประเมินปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยศาสตร์ทางสังคมวิทยา โดยการ บูรณาการข้ามศาสตร์ ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับสากลในยุคเปลี่ยนผ่านสู่สังคมดิจิทัล (Possess the ability to integrate profound sociological insights with interdisciplinary knowledge to analyze and evaluate social phenomena at both national and international levels, especially during the transition to a digital society.)
PLO 2 ออกแบบการวิจัยและจัดกระทำกับข้อมูลโดยใช้แนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาเป็นฐาน ด้วยระเบียบวิธีวิจัยที่หลากหลาย เพื่อสร้างสิ่งใหม่และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Design research and manage data by using sociology theories and research methodologies to create innovation and recommendations in policy)
PLO 3 ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างและสื่อสารความรู้จากผลการวิจัยทางสังคมวิทยาไปสู่สาธารณ ะอย่างเหมาะสมกับบริบท (Can apply digital technology to create and disseminate knowledge derived from research in sociology appropriately)
PLO 4 แสดงออกถึงคุณธรรมและจริยธรรม ปฏิบัติตามจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มีการอ้างอิงแหล่งที่มา ไม่คัดลอกผลงาน และมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Exhibit morals and ethics, comply with ethics in human research: cite sources accurately, avoid plagiarism, and take responsibility for society)
PLO 5 แสดงออกถึงภาวะผู้นำ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ทำงานเป็นทีม เคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต (Exhibit leadership, critical thinking skills, teamwork skills, respect in others’ viewpoints, and Lifelong self-learning)